รายละเอียดเพิ่มเติม
#สารบัญหนังสือ
– ระบบเอนโดแคนนาบินอยด์ (Endocannabinoid system หรือ ESC)
– หลักการพื้นฐานของระบบระบบเอนโดแคนนาบินอยด์ (Fundamental of Endocannabinoid system)
– ตำแหน่งที่พบตัวรับแคนนาบินอยด์ (Expression of receptors)
– การสร้าง การหลั่ง และการสลายของเอนโดแคนนาบินอยด์ (Endocannabinoid synthesis,release, and degradation)
– ผลที่เกิดภายในเซลล์และการจับของตัวรับแคนนาบินอยด์ (Binding and intracellular effects)
– การจับของแคนนาบินอยด์กับตัวรับและภาวะถูกกระตุ้นของเซลล์ประสาท (Binding and neuronal excitability)
– หน้าที่ของระบบเอนโดแคนนาบินอยด์ (Function of Endocannabinoid system)
– ความจำ (Memory)
– ความอยากอาหาร (Appetite)
– สมดุลพลังงานและเมตาโบลิซึ่ม (Energy balance and metabolism)
– การตอบสนองต่อภาวะเครียด (Stress response)
– ความอยากรู้พฤติกรรมทางสังคม และความวิตกกังวล (Social behavior and anxiety)
– หน้าที่เกี่ยวกับภูมิคุ้มกัน (Immune Function)
– โรค MS (Multiple Sclerosis)
– การสืบพันธุ์ของเพศหญิง (Female reprpduction)
– ระบบประสาทอัตโนมัติ (Autonomic nervous system)
– การแก้ปวด (Anlgesia)
– การควบคุมอุณหภูมิ (Thermoregulation)
– การนอนหลับ (Sleep)
– การออกกำลังกาย (Physical exercise)
– เอนโดแคนนาบินอยด์ในพืช (Endocannabinoid in plants)
– เตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol)
– แคนนาบิไดออล (Cannabidiol)
– การตรวจวิเคราะห์แคนนาบินอยด์ (Analysis of cannabinoid)
– ผลทางเภสัชวิทยาคลินิก
– ผลทางคลินิกของกัญชาการแพทย์
– Apoptosis ของเซลล์มะเร็ง กรณีมะเร็งท่อน้ำดี
– กัญชากับโรคเบาหวาน
– การสำรวจทางคลินิกในรายงานผู้ใช้กัญชารักษาโรคด้วยตนเองในประเทศไทย
– การใช้สารสกัดกัญชาทางการแพทย์และการประเมินประสิทธิผลทางคลินิก
– พืชสมุนไพรประเภทกัญชาที่ใช้ทางการแพทย์
– การวิจัยเพื่อนวัตกรรมด้านอาหาร ยา และเครื่องอุปโภคบริโภคในประเทศไทย
– การพัฒนาประเทศด้านการแพทย์เกี่ยวด้วยพืชกัญชา
– สถานะกัญชาทางกฏหมาย รวมร่างพระราชบัญญัติยาเสพติดฉบับใหม่ และแนวทางปฏิบัติในประเทศไทย
– รายการเอกสารวิจัย และวิชาการเกี่ยวกับกัญชาการแพทย์